เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2567 ภาควิชาพยาธิชีววิทยาได้จัดโครงการประชุมเพื่อวิพากษ์หลักสูตรพยาธิชีววิทยา ระดับบัณฑิตศึกษา (โท-เอก) ปี 2567
ณ ห้องประชุม Pr101 ภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาเขตพญาไท)
โครงการนี้ทางคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ ได้จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมเข้ารับการประเมินในระดับมหาวิทยาลัยโดยระบบ MU AUN-QA ซึ่งทางหลักสูตรได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าร่วมวิพากษ์หลักสูตร ประกอบด้วย:
- ศาสตราจารย์ สพ.ญ. ดร. อัจฉริยา ไศละสูต ที่ปรึกษาหลักสูตร ฯ จากภายนอก มหาวิทยาลัยมหิดล
- รองศาสตราจารย์ ดร. สุดา เรียงโรจน์พิทักษ์ ที่ปรึกษาหลักสูตร ฯ จากภายนอก มหาวิทยาลัยมหิดล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สุชิน วรวิชชวงษ์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาขาวิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
- นายแพทย์ปุณวิศ สุทธิกุลณเศรษฐ์ ผู้ใช้บัณฑิตหลักสูตรพยาธิชีววิทยา สถาบันโรคผิวหนัง กระทรวงสาธารณสุข
- ศิษย์เก่าหลักสูตรพยาธิชีววิทยา
ปัจจุบันภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดรับนักศึกษาเพื่อศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพยาธิชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) โดยมีผู้ให้ความสนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรเพิ่มขึ้นทุกปี และเนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network - AUN) ทั้งนี้ภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้จัดโครงการประชุมเพื่อวิพากษ์หลักสูตรพยาธิชีววิทยา โดยเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัณฑิต) เพื่อปรึกษาและสอบถามข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์สำหรับการเตรียมความพร้อม เพื่อเข้ารับการประเมินในระดับมหาวิทยาลัยโดยระบบ MU AUN-QA
ณ ห้องประชุม Pr101 ภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาเขตพญาไท)
โครงการนี้ทางคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ ได้จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมเข้ารับการประเมินในระดับมหาวิทยาลัยโดยระบบ MU AUN-QA ซึ่งทางหลักสูตรได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าร่วมวิพากษ์หลักสูตร ประกอบด้วย:
- ศาสตราจารย์ สพ.ญ. ดร. อัจฉริยา ไศละสูต ที่ปรึกษาหลักสูตร ฯ จากภายนอก มหาวิทยาลัยมหิดล
- รองศาสตราจารย์ ดร. สุดา เรียงโรจน์พิทักษ์ ที่ปรึกษาหลักสูตร ฯ จากภายนอก มหาวิทยาลัยมหิดล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สุชิน วรวิชชวงษ์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาขาวิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
- นายแพทย์ปุณวิศ สุทธิกุลณเศรษฐ์ ผู้ใช้บัณฑิตหลักสูตรพยาธิชีววิทยา สถาบันโรคผิวหนัง กระทรวงสาธารณสุข
- ศิษย์เก่าหลักสูตรพยาธิชีววิทยา
ปัจจุบันภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดรับนักศึกษาเพื่อศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพยาธิชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) โดยมีผู้ให้ความสนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรเพิ่มขึ้นทุกปี และเนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network - AUN) ทั้งนี้ภาควิชาพยาธิชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้จัดโครงการประชุมเพื่อวิพากษ์หลักสูตรพยาธิชีววิทยา โดยเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัณฑิต) เพื่อปรึกษาและสอบถามข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์สำหรับการเตรียมความพร้อม เพื่อเข้ารับการประเมินในระดับมหาวิทยาลัยโดยระบบ MU AUN-QA
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435411077_1056482825877801_6905090349514116180_n.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/434557978_1056482985877785_6129098065206848497_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435413568_1056485152544235_7714088750569193057_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435491296_1056483129211104_9173865105577746358_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435480543_1056483962544354_6435266212363816390_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435543548_1056483799211037_3081767936639962131_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435494621_1056484102544340_8464856994556725528_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435543230_1056483779211039_7700727287480586194_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435494265_1056483709211046_3161627432750836066_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435683043_1056481665877917_4037471752992846827_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435466258_1056483422544408_2413338465675610525_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435457060_1056483522544398_1686581319770578240_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435509086_1056483899211027_9073069289039205122_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435460646_1056484002544350_4331877725412171448_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/435494127_1056483419211075_544698332959364882_n-1024x683.jpg)
![](https://pathobiology.sc.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/08/434555133_1056483862544364_2781154884503217345_n-1024x683.jpg)